หน้าหลัก | สุขภาพดี | สุภาพสตรี | การแปลผลเลือด | โรคต่างๆ | วัคซีน

7 เหตุผลที่ไม่ควรตั้งครรภ์เมืออายุมาก

สมัยก่อนเราจะพบคุณย่า และคุณยายยังสาวอยู่เป็นจำนวนมากแต่ปัจจุบันคนไทยแต่งานอายุมากขึ้น และยังคุมกำเนิดต่ออีกทำให้เกิดการตั้งครรภ์ตอนอายุมาก เด็กที่เกิดจากหญิงที่มีอายุมากส่วนใหญ่ จะปกติแต่ก็พบว่ามีความเสี่ยงเพิ่มจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องวางแผนการมีบุตร ปัญหาของผู้สูงอายุต่อการตั้งครรภ์


ตั้งครรภ์อายุมาก

1อายุมากจะตั้งครรภ์ยาก

ในรังไข่จะมีปริมาณไข่จำนวนจำกัด เมื่ออายุมากขึ้นปริมาณไข่ก็ลดลง และมีความผิดปกติของโครโมโวมทำให้โอกาศการตั้งครรภ์ลดลง เมื่ออายุ 35 ปีขึ้นไปอัตราการตั้งครรภ์จะลดลงเนื่องจากมีการตกไข่ลดลงอาจจะมีการอักเสบในช่องท้องทำให้เกิดพังผืด แม้ว่าจะตั้งครรภ์ยากแต่ครรภ์แผดมักจะเกิดในช่วงอายุ 35-39 ปี หากท่านอายุมากกว่า 30 ปีมีเพศสัมพันธ์อย่างสม่ำเสมอแล้วยังไม่มีบุตรให้ปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ

อายุมากขณะตั้งครรภ์ขึ้นมีผลต่อสุขภาพของคนท้องอย่างไร

การตรวจสุขภาพก่อนการตั้งครรภ์สำหรับคนที่มีอายุมากกว่า 30 ปีมีความจำเป็นเนื่องจากอายุมากขึ้นก็จะมีโรค ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ เบาหวานขณะตั้งครรภ์ เพิ่มขึ้นการควบคุมโรคก่อนการตั้งครรภ์จะช่วยลดโรคแทรกซ้อนได้ พบว่าคนท้องที่อายุมากกว่า 35ปีจะเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์สูงกว่าคนทั่วไป 2 เท่าเมื่อเทียบกับอายุ 20 ปี

2อายุมากขณะตั้งครรภ์กับทารกพิการแต่กำเนิด

พบว่าโรคDown syndrome จะเพิ่มขึ้นโดยพบคลอดผิดปกติ แนะนำว่าหญิงท้องที่อายุมากกว่า35 ปีควรจะเจาะน้ำคร่ำตรวจ ิ

อัตราการเกิด Down syndrome ในแต่ละอายุ

3อายุมากขณะตั้งครรภ์จะแท้งง่าย

อายุมากขึ้นพบว่าอัตราการแท้งเพิ่มพบว่าอายุ 25 ปีอัตราเสี่ยงต่อการแท้งประมาณร้อยละ 12-15 แต่ถ้าหากอายุ 40 ปีอัตราเสี่ยงของการแท้งประมาณร้อยละ 25 และทารกเสียชีวิตในครรภ์เพิ่มขึ้น

4อายุมากขณะตั้งครรภ์มีผลต่อเด็กในครรภ์่

5อายุมากขณะตั้งครรภ์จะต้องผ่าตัดทำคลอด

6เพิ่มความเสี่ยงของโรคแทรกซ้อนของผู้ตั้งครรภ์อายุมาก

คนตั้งครรภ์อายุมากจะเสี่ยงต่อการเกิดโรคแทรกซ้อน เช่นครรภ์เป็นพิษ และเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ความดันโลหิตสูงในขณะตั้งครรภ

7คนตั้งครรภ์อายุมากมีโอกาสคลอดลูกแฝดสูง

เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนทำให้มีการตกไข่หลายฟอง

การลดความเสี่ยงของการตั้งครรภ์ในผู้สูงอายุ

การตรวจพิเศษสำหรับผู้สูงอายุ

ที่สำคัญคือต้องเจาะน้ำคร่ำตรวจ Chromosome เพื่อตรวจว่าเด็กเป็นโรค Down syndrome หรือไม่

การตั้งครรภ์

ภาวะที่เกี่ยวข้อง

การตกไข่ | การปฏิสนธิ | การเตรียมตัวก่อนการตั้งครรภ์ | การตรวจสุขภาพก่อนการตั้งครรภ์ | การรับประทานกรดโฟลิค | ยาที่มีผลต่อการตั้งครรภ์ | การคำนวณวันคลอด | สิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อการตั้งครรภ์ | สุรา บุหรี่กาแฟ | อาหารที่เพิ่มเชื้ออสุจิ | วิตามินที่ร่างกายต้องการ | การทดสอบการตั้งครรภ์ | การออกกำลังระหว่างตั้งครรภ์ | การวางแผนทางการเงิน | 8วิธีหลีกเลี่ยงสารพิษ | การตั้งครรภ์เมื่ออายุมากกว่า 35 ปี | ความพร้อมทางร่างกาย | การคำนวณอายุครรภ์ | การตั้งครรภ์ที่ต้องดูแลเป็นพิเศษ การตั้งครรภ์และความเครียด | x-ray และการตั้งครรภ์ | การตั้งครรภ์และการใช้ยา | การตั้งครรภ์และการท่องเที่ยว